top of page

คำแนะนำภาษีป้าย

ภาษีป้าย กองคลัง งานจัดเก็บรายได้เทศบาลตำาบลบ้านสาง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา โทร. 054-458777 โทรสาร 054-888901ภาษีป้าย ป้าย หมายความว่า ป้ายแสดงชื่อ ยี่ห้อ หรือเครื่องหมายที่ใช้ในการประกอบการค้าหรือประกอบกิจการอื่นเพื่อหารายได้หรือ โฆษณาการค้าหรือกิจการอื่นเพื่อหารายได้ ไม่ว่าจะได้แสดงหรือโฆษณาไว้ที่วัตถุใด ๆ ด้วยอักษร ภาพ หรือเครื่องหมายที่เขียน แกะสลัก จารึกหรือท าให้ปรากฏด้วยวิธีอื่น ผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้าย คือ เจ้าของป้าย แต่ในกรณีที่ปรากฏแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ว่าไม่มีผู้ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้าย (ภ.ป.1) ส าหรับป้ายใด เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ไม่อาจหาตัวเจ้าของป้ายนั้นได้ให้ถือว่าผู้ครอบครองป้ายนั้นเป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้าย ถ้าไม่ อาจหาตัวผู้ครอบครองป้ายนั้นได้ให้ถือว่าเจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคารหรือสถานที่ หรือที่ดินที่ป้ายนั้นติดตั้งหรือแสดงอยู่เป็นผู้มี หน้าที่เสียภาษีป้ายตามส าดับ และให้พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งการประเมินภาณีเป็นหนังสือไปยังบุคคลดังกล่าว ให้เจ้าของป้ายมีหน้าที่เสียภาษีป้ายโดยเสียเป็นรายปียกเว้นป้ายที่เริ่มติดตั้งหรือแสดงในปีแรกให้เสียภาษีป้ายตั้งแต่วันเริ่มติดตั้ง หรือแสดงจนถึงวันสิ้นปี และให้คิดภาษีป้ายเป็นรายงวด งวดละ 3 เดือนของปี โดยเริ่มเสียภาษีป้ายตั้งแต่งวดที่ติดตั้งป้ายจนถึงงวด สุดท้ายของปี งวดที่ 1 มกราคม – มีนาคม = 100% งวดที่ 2 เมษายน – มิถุนายน = 75 % งวดที่ 3 กรกฎาคม – กันยายน = 50% งวดที่ 4 ตุลาคม – ธันวาคม = 25 % ให้เจ้าของป้ายซึ่งจะต้องเสียภาษีป้าย ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้ายตามแบบและวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยก าหนด ภายในเดือนมีนาคมของปี ในกรณีที่เจ้าของป้ายอยู่นอกประเทศไทย ให้ตัวแทนหรือผู้แทนในประเทศไทยมีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้ายแทน เจ้าของป้าย เจ้าของป้ายผู้ใด (1) ติดตั้งหรือแสดงป้ายอันต้องเสียภาษีภายหลังเดือนมีนาคม (2) ติดตั้งหรือแสดงป้ายใหม่แทนป้ายเดิมและมีพื้นที่ ข้อความ ภาพ และเครื่องหมายอย่างเดียวกับป้ายเดิมที่ได้เสียภาษี ป้ายแล้ว (3) เปลี่ยนแปลงแก้ไขพื้นที่ป้าย ข้อความ ภาพ หรือเครื่องหมายบางส่วนในป้ายที่ได้เสียภาษีป้ายแล้ว อันเป็นเหตุให้ต้อง เสียภาษีป้ายเพิ่มขึ้น ให้เจ้าของป้ายตาม (1) (2) หรือ (3) ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้ายต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ติดตั้ง หรือแสดงป้ายหรือนับแต่วันเปลี่ยนแปลง แก้ไขข้อความ ภาพ หรือเครื่องหมายในป้ายเดิม แล้วแต่กรณี ให้เจ้าของป้ายหรือผู้ซึ่งเจ้าของป้ายมอบหมายยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้ายต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ สถานที่ดังต่อไปนี้ (1) ส านักงานหรือที่ว่าการของราชการส่วนท้องถิ่นที่ป้ายนั้นติดตั้งหรือแสดงอยู่ในเขตราชการส่วนท้องถิ่นนั้น (2) ส านักงานหรือที่ว่าการของราชการส่วนท้องถิ่นซึ่งการจดทะเบียนยานพาหนะได้กระท าในเขตราชการส่วนท้องถิ่นนั้น (3) สถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นก าหนด โดยประกาศหรือโฆษณาให้ทราบเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวันนับแต่วัน ประกาศหรือโฆษณา ให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้ายช าระภาษีป้ายต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ สถานที่ที่ได้ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้ายไว้ หรือ ณ สถานที่อื่นใดที่พนักงานเจ้าหน้าที่ก าหนด ทั้งนี้ ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งการประเมิน และให้ถือว่าวันที่ช าระ ภาษีต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เป็นวันช าระภาษีป้าย การช าระภาษีป้ายจะกระท าโดยวิธีการส่งธนาณัติหรือตั๋วแลกเงินของธนาคารที่สั่งจ่ายเงินให้แก่ราชการส่วนท้องถิ่นที่ เกี่ยวข้อง ไปยังสถานที่ตามวรรคหนึ่ง โดยส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนหรือส่งโดยวิธีอื่นตามที่รัฐมนตรีประกาศก าหนดแทนการช าระ ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ก็ได้ และให้ถือว่าวันที่ได้ท าการส่งดังกล่าวเป็นวันช าระภาษีป้าย ให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้ายแสดงหลักฐานการเสียภาษีป้ายไว้ ณ ที่เปิดเผยในสถานที่ประกอบการค้าหรือประกอบกิจการ ให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้ายเสียเงินเพิ่มนอกจากเงินที่ต้องเสียภาษีป้าย ในกรณีและอัตรา ดังต่อไปนี้ (1) ไม่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้ายภายในเวลาที่ก าหนด ให้เสียเงินเพิ่มร้อยละ 10 ของจ านวนเงินที่ต้องเสียภาษีป้าย เว้นแต่กรณีที่เจ้าของป้ายได้ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้ายก่อนที่พนักงานเจ้าหน้าที่จะได้แจ้งให้ทราบถึงการละเว้นนั้นให้เสียเงิน เพิ่มร้อยละ 5ของจ านวนเงิน ที่ต้องเสียภาษีป้าย (2) ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้ายโดยไม่ถูกต้อง ท าให้จ านวนเงินที่จะต้องเสียภาษีป้ายลดน้อยลง ให้เสียเงินเพิ่มร้อยละ 10ของภาษีป้ายที่ประเมินเพิ่มเติม เว้นแต่กรณีที่เจ้าของป้ายได้มาขอแก้ไขแบบแสดงรายการภาษีป้ายให้ถูกต้องก่อนที่พนักงาน เจ้าหน้าที่แจ้งการประเมิน (3) ไม่ช าระภาษีป้ายภายในเวลาที่ก าหนด ให้เสียเงินเพิ่ม ร้อยละ 2 ต่อเดือนของจ านวนเงินที่ต้องเสียภาษีป้าย เศษของ เดือนให้นับเป็นหนึ่งเดือนทั้งนี้ ไม่ให้น าเงินเพิ่มตาม (1) และ (2) มาค านวณเป็นเงินเพิ่ม เมื่อปรากฏว่าเจ้าของป้ายมิได้ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้าย หรือยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้ายโดยไม่ถูกต้อง ให้พนักงาน เจ้าหน้าที่มีอ านาจแจ้งการประเมินย้อนหลังได้ไม่เกิน 5 ปี นับแต่วันที่พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งการประเมิน ผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้ายที่ได้รับแจ้งการประเมินภาษีป้ายแล้วเห็นว่าการประเมินนั้นไม่ถูกต้อง มีสิทธิอุทธรณ์การประเมินต่อ ผู้บริหารท้องถิ่นหรือ ผู้ซึ่งผู้บริหารท้องถิ่นมอบหมายได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งการประเมิน บทลงโทษ ผู้ใดโดยรู้อยู่แล้วหรือโดยจงใจแจ้งข้อความอันเป็นเท็จให้ถ้อยค าเท็จ ตอบค าถามด้วยถ้อยค าอันเป็นเท็จ หรือน าพยานหลักฐาน เท็จมาแสดง เพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษีป้าย ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกิน 1ปี หรือปรับตั้งแต่ 5,000 – 50,000 บาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ ผู้ใดจงใจไม่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้าย ต้องระวางโทษปรับตั้งแต่ 5,000 – 50,000 บาท บัญชีอัตราภาษีป้าย ป้ายประเภท 1 (ก) อักษรไทยล้วน ที่เคลื่อนที่หรือเปลี่ยนข้อความ (ป้ายไฟวิ่ง) อัตรา 10 บาท/500 ตร.ซม. (ข) อักษรไทยล้วน (ป้ายติดตั้งทั่วไป) อัตรา 5 บาท/ 500 ตร.ซม. ป้ายประเภท 2 (ก) อักษรไทยปนกับภาษาอังกฤษ และปนรูปภาพหรือปนเครื่องหมายอื่น ที่เคลื่อนที่หรือเปลี่ยนข้อความ เครื่องหมาย หรือภาพอื่นได้ (ป้ายไฟวิ่ง) อัตรา 52 บาท/500 ตร.ซม. (ข) อักษรไทยปนกับภาษาอังกฤษ และปนรูปภาพหรือปนเครื่องหมายอื่น (ป้ายติดทั่วไป) อัตรา 26 บาท/ 500 ตร.ซม. ป้ายประเภท 3 (ก) ป้ายไม่มีอักษรไทย และป้ายที่มีอักษรไทยบางส่วนหรือทั้งหมดอยู่ใต้หรือต่ ากว่าอักษรต่างประเทศ ที่เคลื่อนที่หรือเปลี่ยน ข้อความ เครื่องหมาย หรือภาพอื่นได้ (ป้ายไฟวิ่ง) อัตรา 52 บาท/500 ตร.ซม (ข) ป้ายไม่มีอักษรไทย และป้ายที่มีอักษรไทยบางส่วนหรือทั้งหมดอยู่ใต้ห รือต่ ากว่าอักษรต ่างป ร ะเทศ (ป้ายติดทั่วไป) อัตรา 50 บาท/ 500 ตร.ซม. ภาษีป้ายคิดเป็นรายปี อัตราภาษีป้ายขั้นต่ า 200 บาทหลักฐานที่ใช้ในการเสียภาษีป้าย กรณีติดตั้งใหม่ ใบอนุญาตติดตั้งป้าย, ใบเสร็จรับเงินค่าท าป้าย รูปถ่ายป้าย, วัดขนาดความกว้าง x ยาว ส าเนาทะเบียนบ้าน บัตรประจ าตัวประชาชน/บัตรข้าราชการ/บัตรพนักงานรัฐวิสาหกิจ กรณีเจ้าของป้ายเป็นนิติบุคคลให้แนบหนังสือรับรองส านักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัท, ทะเบียนพาณิชย์ หรือหลักฐานของ สรรพากร เช่น ภ.พ. 01, ภ.พ. 09, ภ.พ. 20 หนังสือมอบอ านาจ (กรณีไม่สามารถยื่นแบบได้ด้วยตนเอง พร้อมติดอากรแสตมป์ตามกฎหมาย) กรณีภาษีป้าย (รายเก่า) ที่ยื่นช าระทุกปี ให้เจ้าของป้ายยื่นแบบภาษีป้าย (ภ.ป. 1) พร้อมใบเสร็จรับเงินการเสียภาษีครั้งสุดท้าย กรณีเจ้าของป้ายเป็นนิติบุคคล ให้แนบหนังสือรับรองส านักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัท พร้อมกับการยื่นแบบ ภ.ป. 1 หนังสือมอบอ านาจ (กรณีไม่สามารถยื่นแบบได้ด้วยตนเอง พร้อมติดอากรแสตมป์ตามกฎหมาย) และ ใบเสร็จรับเงินการเสียภาษีครั้ง สุดท้าย (ถ้ามี) ตัวอย่างการค านวณ นายด า ติดตั้งป้าย ขนาด กว้าง 100 เซนติเมตร ยาว 200 เซนติเมตร มีข้อความว่า ร้านร่ ารวย(ข) ติดตั้ง เดือน มีนาคม วิธีการค านวณ ขนาดป้าย กว้าง x ยาว (หน่วยเซนติเมตร) 100 x 200 = 20,000 ตารางเซนติเมตร 20,000 ÷ 500 = 40 หน่วย อัตราภาษี 5 บาท ต่อ 500 ตารางเซนติเมตร 40 x 5 = 200 บาท ดังนั้น นายด า ต้องช าระภาษีป้ายในอัตราขั้นต่ าของภาษีป้าย คือ 200 บาท


โหลดเอกสารที่นี่



コメント


bottom of page